Project Approach เรื่อง ช้าง ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5 ชั้นอนุบาลปีที่ 1/2 ปีการศึกษา 2561

เด็กๆ สังเกต สำรวจ สัมผัสอึช้างที่แห้งแล้วและร่วมพูดคุย

เด็กๆ สำรวจอึช้างที่แห้งแล้ว กระดาษสาจากอึช้าง และผลิตภัณฑ์ที่ทำจากกระดาษอึช้าง

เด็กๆ ช่วยกันจำลองร้านขายอาหารของช้าง

ช่วยกันจำลองต้นไม้ ป่าไม้ซึ่งเป็นที่อยู่อาศัยของช้าง

ช่วยกันทาสีกล่องเพื่อจำลองเป็นตัวช้างตามความคิดของเด็กๆ

ช่วยกันจำลองตัวช้างและติดอวัยวะของช้างตามที่ร่วมกันคิดเอาไว้

จับกลุ่มตามความสนใจและช่วยกันนำวัสดุมาประดิษฐ์นิทานในกล่อง

อาสาออกมาเล่านิทานที่เด็กๆ ช่วยกันแต่งและช่วยกันประดิษฐ์นิทานในกล่อง

เล่นเกมภาพตัดต่อเกี่ยวกับช้าง

เล่นเกมรวงผึ้งพยัญชนะต้น “ e ”

ให้ความสนใจในการปั้นอาหารของช้างด้วยดินน้ำมัน

ผลงานการปั้นดินน้ำมันโดยดูจากของจริง
ธิธัญ : อ้อย , หญ้า

ผลงานการปั้นดินน้ำมันโดยดูจากของจริง
พรีม : กล้วย

นำวัสดุต่างๆ มาประดิษฐ์เป็นอาหารของช้าง

ผลงานการประดิษฐ์โดยใช้เศษวัสดุ
เชาหลัน : อ้อยช้างกิน

นำวัสดุต่างๆ มาประดิษฐ์เป็นช้างตามความคิดของตนเอง

ผลงานการประดิษฐ์ช้างโดยใช้เศษวัสดุ
ริต้า : ช้างเอเชียหูเล็ก

ผลงานการประดิษฐ์ช้างโดยใช้เศษวัสดุ
อลิส : ช้างเอเชียหลังโค้ง กำลังอึ หูเล็ก

ผลงานการประดิษฐ์ช้างโดยใช้เศษวัสดุ
ปาล์ม : ช้างหูใหญ่ มีหางยาว หางมีขน

เด็กๆ วาดภาพเกี่ยวกับประโยชน์ของช้าง

ผลงานการสร้างภาพที่อยู่ของช้างด้วยเศษวัสดุ
เตโต้ : ช้างกำลังเล่นน้ำ

ผลงานการสร้างภาพที่อยู่ของช้างด้วยเศษวัสดุ
อลิน : ช้างกำลังเตะฟุตบอล

ผลงานการวาดภาพเกี่ยวกับประโยชน์ของช้าง
กะรัต : ช้างใช้เท้าแตะฟุตบอลได้เหมือนคน

ผลงานการวาดภาพเกี่ยวกับประโยชน์ของช้าง
เตโต้ : ช้างใช้งวงพ่นน้ำเล่นกับคนได้

ผลงานการวาดภาพเกี่ยวกับประโยชน์ของช้าง
ปืนต้น : ช้างตัวใหญ่สามารถลากซุงได้

ผลงานการวาดภาพเกี่ยวกับประโยชน์ของช้าง
ภูผา : คนนั่งบนตัวช้างได้

ผลงานการวาดภาพเกี่ยวกับประโยชน์ของช้าง
วันสุข : ช้างใช้งวงดูดน้ำแล้วพ่นน้ำเล่นกับคนได้

ชี้ชวนกันดูว่าอึช้างสามารถทำอะไรได้บ้าง