เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 3
ชั้นอนุบาล 3 / 1 , ปีการศึกษา 2565
เด็กๆเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับนาฬิกากันน้ำโดยรับชมคลิปวิดีโอจาก YouTube
ขุนและเนต้าสำรวจหน้าปัดนาฬิกาแต่ละเรือนเพื่อหาสัญลักษณ์ว่านาฬิกาเรือนใดกันน้ำได้
เจด้า นิวเยียร์ และมิริน สำรวจนาฬิกา และพูดคุยเกี่ยวกับประโยชน์ของนาฬิกาว่าสามารถทำอะไรได้บ้างนอกจากดูเวลา
จอร์แดนสนใจเขียนบอกเวลาโดยสังเกตจากรูปภาพจากหน้าปัดนาฬิกา
กิจกรรมเติมเข็มบนหน้าปัดนาฬิกาให้ตรงกับเวลาที่กำหนด
เด็กๆแบ่งกลุ่มแต่งนิทานเกี่ยวกับนาฬิกา
กลุ่มของจอร์แดน เก้า และจีด้า ออกมาเล่านิทานที่ช่วยกันแต่งให้เพื่อนฟัง
กลุ่มของฌารีณ ริสา แลเนต้า ออกมาเล่านิทานที่ช่วยกันแต่งให้เพื่อนฟัง
กลุ่มของธีทัต มิริน และเคน ออกมาเล่านิทานที่ช่วยกันแต่งให้เพื่อนฟัง
กลุ่มของขุน ภูพิงค์ และเจด้าออกมาเล่านิทานที่ช่วยกันแต่งให้เพื่อนฟัง
นิวเยียร์อาสาออกมาเล่านิทาน เรื่อง นาฬิกาเพื่อนรัก ให้เพื่อนๆฟัง
นิวเยียร์และขุนสนใจหาข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประโยชน์ของนาฬิกา
เด็กๆช่วยกันเขียนสรุป Mind Map ความคิด เรื่องนาฬิกา
เด็กและครูอ่านสรุป Mind Map ความคิดรวบยอดเรื่องนาฬิกา
ธีทัตสนใจเล่มเกมบอกเวลาโดยหมุนเข็มบนหน้าปัดนาฬิกาจำลองในหนังสือ
กิจกรรม Sensory Play
เด็กๆสนใจที่จะจำลองร้านขายนาฬิกาโดยร่วมกันวางแผนและช่วยกันตั้งชื่อร้านนาฬิกา และได้ข้อสรุปร่วมกันว่า “คลินิกบ้านนาฬิกา อ.3/1”
หลังจากพูดคุยและตกลงกันเสร็จเด็กๆช่วยกันนำลังกระดาษมายึดติดกันแล้วนำมาจัดวางเรียงใหเป็นร้านนาฬิกา
เด็กๆช่วยกันวาดภาพนาฬิกาประเภทต่างๆ พร้อมทั้งตั้งราคาขายแล้วช่วยกันนำไปติดที่ร้าน คลินิกบ้านนาฬิกา อ.3/1
ผลงานการจำลองร้าน “คลินิกบ้านนาฬิกา อ.3/1” ของเด็กๆ
เด็กๆเล่นบทบาทสมมติ เป็นคนขาย และ คนซื้อโดยใช้ธนบัตรจำลอง
เก้าและเคนเล่นบทบาทสมมติเป็นช่างซ่อมนาฬิกา
เด็กๆเล่นดนตรี ร้องเพลง “นาฬิกา” และทำท่าทางประกอบเพลง
มิริน นิวเยียร์ และริสาช่วยกันเคลื่อนย้ายหอนาฬิกาจำลองเพื่อจัดเตรียมนิทรรศการ
เคน ขุน เก้า และจอร์แดนช่วยกันเคลื่อนย้ายชั้นวางของเพื่อจัดเตรียมนิทรรศการ
กิจกรรม Memory Game
ริสาและภูพิงค์ช่วยกันทำสมุดเยี่ยมชมนิทรรศการ Project Approach เรื่อง นาฬิกา
กิจกรรมออกแบบและเขียนการ์ดเพื่อเชิญผู้ปกครองมาชมนิทรรศการ Project Approach เรื่อง นาฬิกา