https://kukai.ac.th/project-approach.php?event=project_approach_2565/C3_1/Clock-2.5

เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5


ชั้นอนุบาล 3 / 1 , ปีการศึกษา 2565

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

สำรวจตัวเลข เข็ม ขีดแบ่งเวลา ที่อยู่บนหน้าปัดนาฬิกาแล้วพูดคุยเปรียบเทียบกัน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆเรียนรู้เกี่ยวกับการอ่านเวลาบนหน้าปัดนาฬิกา

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานของนาฬิกา และการอ่านเวลาจาก YouTube

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆเขียนตัวเลข 1-24 แล้วนำไปติดบนหน้าปัดนาฬิกาจำลองเเพื่อเรียนรู้ว่า 1วันมี 24ชั่วโมงและเรียนรู้การแบ่งเวลาช่วงก่อนเที่ยงและหลังเที่ยง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆช่วยกันนำตัวเลข 1-24 มาติดบนหน้าปัดนาฬิกา

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เคน เนต้า และฌารีณ อาสาออกมาอ่านเวลาในช่วงก่อนเที่ยงและหลังเที่ยงตามที่เพื่อนๆได้หมุนเข็มไว้

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆจับคู่กับเพื่อนแล้วผลัดกันออกมาเล่นเกมทายเวลาโดย หนึ่งคนหมุนเข็มและบอกว่าอยู่ในช่วงก่อนเที่ยงหรือหลังเที่ยงและให้อีกหนึ่งคนเป็นคนบอกเวลาให้ถูกต้อง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กิจกรรมวาดเข็มลงบนหน้าปัดนาฬิกาตามเวลาที่กำหนดให้ถูกต้อง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กทุกคนช่วยกันแต่งเพลง “นาฬิกา” จากนั้นมิริน และเจด้าช่วยกันเขียนเนื้อเพลงที่เพื่อนๆช่วยกันแต่งลงบนกระดาษแผ่นใหญ่

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

จากนั้นจีด้าและขุนช่วยกันวาดภาพระบายสีตกแต่งให้สวยงาม

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

ริสาและเจด้าอาสาออกมาร้องเพลง “นาฬิกา” ให้เพื่อนๆฟัง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆทุกคนร้องเพลงและช่วยกันคิดท่าทางประกอบเพลง “นาฬิกา” ที่แต่งขึ้นโดยนักเรียนชั้นอนุบาล 3/1

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆไปทัศนศึกษาที่ “คลินิกบ้านนาฬิกาโบราณ”

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

ท่านอาจารย์เจษฎา เครือบุตดี เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์แห่งนาฬิกา ได้ให้ความรู้เด็กๆในหัวข้อเรื่อง ประเภทของนาฬิกา การทำงานของนาฬิกา และวิธีการดูแลรักษานาฬิกา

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

จีด้าและฌารีณออกมาทดลองหย่อนลูกตุ้มลงไปเพื่อให้เป็นพลังงานของนาฬิกา ทำให้ฟันเฟืองของนาฬิกาสามารถทำงานได้

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆแบ่งกลุ่มออกไปสำรวจนาฬิกา Cuckoo Bird Wall Clock และทดลองหมุนเข็มปรับเวลาแล้วสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆสนใจและซักถามเกี่ยวกับลักษณะการทำงานของนาฬิกาต้นแบบที่จำลองมาจากประเทศฝรั่งเศษ

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆเรียนรู้การทำงานของนาฬิกาตั้งพื้นแบบโบราณและสังเกตการแกว่งของลูกตุ้มแล้วฟังเสียงเมื่อเวลาเดินครบ 1 ชั่งโมง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

ท่านอาจารย์เจษฎา เครือบุตดี ได้มอบนาฬิกาโบราณที่มีอายุกว่า 40 ปี จากประเทศญี่ปุ่นให้เด็กๆได้นำกลับมาเรียนรู้เพิ่มเติมที่โรงเรียน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กนั้นเรียนชั้นอนุบาล 3/1 มอบการ์ดขอบคุณและของที่ระลึกให้ท่านอาจารย์เจษฎา เครือบุตดี และคณะแล้วร่วมถ่ายภาพเป็นที่ระลึก

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กิจกรรมสืบค้นข้อมูลเพิ่มจากเอกสารเกี่ยวกับ วิธีการดูแลรักษานาฬิกาที่ได้รับมาจากท่านอาจารย์เจษฎา เครือบุตดีผู้เชี่ยวชาญเรื่องนาฬิกา เจ้าของคลินิกบ้านนาฬิกาโบราณ

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กลุ่มของ นิวเยียร์ ริสา เคน ออกมานำเสนอวิธีการดูแลรักษาในระบบใส่ถ่าน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กลุ่มของ เนต้า ธีทัต จีด้า ออกมานำเสนอวิธีการดูแลรักษาในระบบไขลาน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กลุ่มของ จอร์แดน มิริน ขุน ออกมานำเสนอวิธีการดูแลรักษานาฬิกาข้อมือ

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กิจกรรมเล่นเกมภาพตัดต่อนาฬิกา

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆช่วยกันวาดภาพนาฬิกาแต่ละชนิดเพื่อนำไปติดลงบนตาราง Bee-Bot

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

จอร์แดน ธีทัต เคน ช่วยกันเขียนและกำหนดจุดเริ่มต้น

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กช่วยกันกำหนดจุดเริ่มต้นและนำภาพนาฬิกาแต่ละประเภทมาติดลงบนตาราง Bee-Bot

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

เด็กๆวางแผนว่าจะให้ Bee-Bot เดินไปที่นาฬิกาประเภทใด

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กลุ่มของ มิริน เนต้า และจีด้า วางแผนตกลงกันว่าจะให้ Bee-Bot เดินไปที่นาฬิกาทรายที่อยู่ด้านล่างสุดจากนั้นกดปุ่มคำสั่งบน Bee-Bot ตามที่ได้ร่วมกันวางแผนไว้

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กลุ่มของขุน ธีทัต เจด้า และริสาวางแผนตกลงกันว่าจะให้ Bee-Bot เดินไปที่เสาโอเบลิสก์จากนั้นกดปุ่มคำสั่งบน Bee-Bot ตามที่ได้ร่วมกันวางแผนไว้

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กลุ่มของ นิวเยียร์ จอร์แดน และเคน วางแผนแล้วตกลงกันว่าจะให้ Bee-Bot เดินไปที่หอนาฬิกาจากนั้นกดปุ่มคำสั่งบน Bee-Bot ตามที่ได้ร่วมกันวางแผนไว้

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

กิจกรรมเขียนตัวเลขบอกเวลาบนหน้าปัดนาฬิกาตามครูกำหนดให้ถูกต้อง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 5

นิวเยียร์และเคนสนใจเล่นเกมจับคู่เลขอารบิก กับ เลขโรมันบนหน้าปัดนาฬิกา