https://kukai.ac.th/project-approach.php?event=project_approach_2565/C3_1/Clock-2.4

เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4


ชั้นอนุบาล 3 / 1 , ปีการศึกษา 2565

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

กิจกรรมสำรวจประเภทของนาฬิกา

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

หลังจากที่สำรวจประเภทของนาฬิกาแล้วเด็กๆผลัดกันออกมาแยกประเภทของนาฬิกาโดยเลือกนาฬิกาที่ตนเองสนใจนำมาวางให้ตรงป้ายชื่อแต่ละประเภทให้ถูกต้อง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

หลังจากแยกประเภทของนาฬิกาเสร็จเด็กๆได้ช่วยกันนับจำนวนของนาฬิกาแต่ละประเภท และเขียนจำนวนแล้วพูดคุยเปรียบเทียบกัน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

แบ่งกลุ่มผลัดกันออกมาสำรวจนาฬิกาตั้งโต๊ะแล้วพูดคุยเปรียบเทียบกัน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

แบ่งกลุ่มผลัดกันออกมาสำรวจนาฬิกาจับเวลาแล้วพูดคุยเปรียบเทียบกัน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

แบ่งกลุ่มผลัดกันออกมาสำรวจนาฬิกาปลุกแล้วพูดคุยเปรียบเทียบกัน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

ฌารีณและจีด้าสนใจสำรวจนาฬิกาข้อมือเพิ่มเติมแล้วเปรียบเทียบกันว่าแต่ละเรือนเหมือนหรือต่างกันอย่างไร

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

เจด้าสนใจสำรวจตัวเลขบนหน้าปัดของนาฬิกาพกเพิ่มเติม

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

แบ่งกลุ่มผลัดกันออกมาสำรวจลักษณะของตัวเรือนและตัวเลขบนหน้าปัดนาฬิกาแขวนผนังแล้วพูดคุยเปรียบเทียบกัน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

เด็กร่วมกันบันทึก Venn Diagram เปรียบเทียบความเหมือน-ความต่างของ “นาฬิกาข้อมือ” และ “นาฬิกาปลุก”

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

มิริน เคน ภูพิงค์ และเจด้า อาสาออกมาเล่าสรุป Venn Diagram เปรียบเทียบความเหมือน-ความต่างของ “นาฬิกาข้อมือ” และ “นาฬิกาปลุก

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

กิจกรรมภาษาอังกฤษกับ Teacher Steve

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

เด็กๆสนใจที่จะจำลองหอนาฬิกาแห่งแรกของไทย จึงมีการพูดคุย วางแผนและช่วยกันออกแบบโดยการวาดภาพบนกระดาษแผ่นใหญ่ก่อนการจำลอง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

หลังจากวาดภาพและออกแบบเสร็จเด็กๆได้พูดคุยและตกลงกันว่าจะเลือกใช้ใช้กล่องแบบไหนเพื่อนต่อเป็นหอนาฬิกาบ้าง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

หลังจากที่พูดคุยและตกลงกันเสร็จเด็กๆได้นำกล่องลังมาวางตามที่คิดแล้วใช้อุปกรณ์ในการยึดติด

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

แบ่งกลุ่มช่วยกันระบายสีตัวฐานของหอนาฬิกาจำลอง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

จีด้าและมิรินช่วยกันวาดออกแบบและระบายสีหลังคาของหอนาฬิกา

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

ริสาเขียนตัวเลขโรมันบนหน้าปัดนาฬิกา

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

เด็กๆใช้ดินสอเจาะรูบนหน้าปัดนาฬิกาเพื่อเตรียมประกอบเครื่อง

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

เริ่มประกอบตัวเครื่องโดยใส่แหวนรอง ใส่เข็มชั่วโมง ใส่เข็มนาที ใส่เข็มวินาที แล้วกดให้แน่น

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

นำถ่านมาใส่โดยสังเกตขั้วบวกและขั้วลบให้ตรงกัน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

นิวเยียร์และเนต้าช่วยกันหมุนตั้งเวลาให้ตรงโดยสังเกตจากนาฬิกาในห้องเรียน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

ฌารีณและขุนนำนาฬิกาที่ตั้งเวลาเสร็จแล้วมายึดติดบนหอนาฬิกาจำลองทั้ง4ด้าน

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

ผลงานการออกแบบ และจำลอง หอนาฬิกาแห่งแรกของไทย อยู่ที่พระที่นั่งภูวดลทัศไนย

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะผู้นำ-ผู้ตาม

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

เด็กๆไปเดินสำรวจนาฬิการอบๆบริเวณโรงเรียนแล้วพบเจออยู่ที่หน้าห้อง อ.1/3

 เรื่องนาฬิกา ระยะที่ 2 สัปดาห์ที่ 4

เด็กๆไปเดินสำรวจนาฬิการอบๆบริเวณโรงเรียนแล้วพบเจออยู่ที่หน้าห้องธุรการแล้วพูดคุยกันว่าบนหน้าปัดนาฬิกาใช้สัญลักษณ์เป็นรูปนกแทนตัวเลข